Mousai Wellness Center

Hormones

6 ฮอร์โมน ที่มีผลต่อการนอนหลับ

1. Melatonin Hormone-ฮอร์โมนเมลาโทนิน (ราชาการนอนหลับ) 🛌 ฮอร์โมนเมลาโทนิน เป็นฮอร์โมนที่มีความสำคัญอย่างมากต่อการนอนหลับของเรา!เมลาโทนินถูกสร้างขึ้นโดยต่อมไพเนียลในสมองจะถูกปล่อยออกมาในช่วงกลางคืน ให้ร่างกายเตรียมความพร้อมเพื่อการนอนหลับ 🥱 เช่น ทำให้รู้สึกง่วงนอน ลดอุณหภูมิร่างกาย และชะลอการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง อีกทั้งเมลาโทนินยังมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ช่วยชะลอวัยและลดความเสี่ยงของโรคมะเร็งได้อีกด้วย 2. Cortisol Hormone-ฮอร์โมนคอร์ติซอล 😡 คอร์ติซอลเป็นฮอร์โมนเกี่ยวกับการจัดการความเครียด เมื่อร่างกายได้รับความเครียด ระดับคอร์ติซอลก็จะเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้รู้สึกกระวนกระวายและนอนหลับไม่สนิท การลดความเครียด โดยการออกกำลังกาย หรือการผ่อนคลายก่อนนอน จึงมีความจำเป็นต่อการนอนหลับที่มีคุณภาพอย่างมาก 3. Growth Hormone-โกรทฮอร์โมน 🌃 โกรทฮอร์โมนมีบทบาทช่วยในการควบคุมการนอนหลับในผู้หญิง โดยเฉพาะระหว่างรอบเดือน เนื่องจากในช่วงก่อนมีประจำเดือนฮอร์โมนนี้มีระดับสูงสุด จึงอาจทำให้นอนหลับยาก 🌙 นอกจากนี้ อาการไข้หนาว ปวดศีรษะ และอารมณ์แปรปรวน ก็เป็นอาการของโกรทฮอร์โมนที่อาจส่งผลให้นอนหลับไม่สนิทได้

Loading

6 ฮอร์โมน ที่มีผลต่อการนอนหลับ Read More »

เคล็ดลับ Sleep : อยากผอมต้องนอน

หลายๆคน พยายามลดน้ำหนักทั้งคุมอาหาร ลดแป้ง ลดน้ำตาล ออกกำลังกายสร้างกล้ามเนื้อ แต่รู้หรือไม่ การเผาผลาญไขมันเกิดขึ้นมากที่สุดตอนนอน !! การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอนั้นเป็นหัวใจสำคัญของการเผาผลาญไขมัน โดยการนอนนั้นต้องมีจำนวนชั่วโมงในการนอนที่เหมาะสม (6-9 ชั่วโมง) นอนถูกช่วงเวลา 22.00 น. – 06.00 น. และนอนแบบคุณภาพดีคือหลับลึกหลับยาวอีกด้วย ไม่เอาแบบหลับๆตื่นๆนะคะ งานวิจัยหลายฉบับพบว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายนั้นหลั่งฮอร์โมนการเผาผลาญได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะโกรธฮอร์โมน (Growth hormone) ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ควบคุมอาหารอย่างดี ทานอาหารถูกต้อง ออกกำลังกายอย่างเป็นประจำแล้ว แต่ยังลดไขมันไม่ได้เสียที ลองตรวจสอบการนอนของตัวเองนะคะ ว่าการนอนหลับนั้นมีคุณภาพเพียงพอหรือไม่ วิธีตรวจสอบการนอนง่ายๆ ลองใส่นาฬิกากลุ่มSmart watch (นาฬิกาออกกำลังกายรุ่นที่ติดตามการนอนได้) ติดต่อกันประมาณ 2 สัปดาห์  จะสามารถเห็นได้เลยว่าการนอนของเรานั้นส่วนใหญ่เป็นอย่างไร นอนกี่ชั่วโมง ตื่นบ่อยแค่ไหน หลับลึกกี่ชั่วโมง หลับตื้นกี่ชั่วโมง ปัจจุบันราคานาฬิกากลุ่มSmart watchนั้นราคาไม่สูงมาก เริ่มตั้งแต่หลักร้อยบาทเท่านั้น นอนด

Loading

เคล็ดลับ Sleep : อยากผอมต้องนอน Read More »

8 สัญญาณเตือนที่บ่งบอกว่า ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมดุล

ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมดุล 8 สัญญาณเตือนที่บ่งบอกว่า ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมดุล ฮอร์โมนเอสโตรเจน เป็นฮอร์โมนเพศหญิง ที่ผลิตจากรังไข่เป็นส่วนใหญ่ . ผู้หญิงวัยทองหรือวัยหมดประจำเดือน จะมีฮอร์โมนเอสโตรเจนต่ำ ในขณะที่บางคนจะมีฮอร์โมนสูงเกินไปก็ได้ . อาการที่บ่งบอกว่าฮอร์โมนเอสโตรเจนไม่สมดุล . 1.Weight gain น้ำหนักเกิน/ลดน้ำหนักยาก ฮอร์โมนเอสโตรเจน เป็นฮอร์โมนที่ส่งผลโดยตรงกับการสะสมไขมัน ผู้ที่ฮฮร์โมนเอสโตรเจนเกิน จึงมักมีโรคอ้วน. 2.Sleep issues ปัญหาการนอน มักมีอาการนอนไม่ค่อยหลับ หลับยาก หรือลุกตื่นกลางคืนบ่อย . 3.Anxiety วิตกกังวล วิตกกังวลง่าย คิดมาก เสี่ยงซึมเศร้า . 4.Constipation ท้องผูก มักมีอาการท้องผูก หรือ ท้องอืด แก๊สในกระเพาะอาหารเยอะ . 5.Low libido อารมณ์ทางเพศลดลง . 6.Headaches ปวดศีรษะ มักมีอาการปวดศีรษะ หรือปวดศีรษะไมเกรนร่วมด้วยโดยเฉพาะช่วงมีรอบเดือน . 7.Cold hand & feet มือเท้าเย็น ขี้หนาว มีอาการปลายมือปลายเท้าเย็น . 8.Hair & Skin issues ผิวและผมแห้ง มักมีอาการผมแห้ง ผมร่วง ผิวแห้งโดยเฉพาะบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้า . หากคุณมีอาการเหล่านี้ มากกว่า 2 อาการ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรว

Loading

8 สัญญาณเตือนที่บ่งบอกว่า ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมดุล Read More »

ภาวะฮอร์โมนเพศหญิงเกิน 🥀(Estrogen Dominance)

ภาวะฮอร์โมนเพศหญิงเกิน 🥀 (Estrogen Dominance) 🤵 ฮอร์โมนเพศหญิง หรือ ฮอร์โมนเอสโตรเจนมีอยู่ในทั้งผู้ชาย และผู้หญิง 👰‍♀️.💪โดยฮอร์โมนเฮสโตรเจน เป็นฮอร์โมนหลักของผู้หญิง ช่วยยับยั้งการสลายของเนื้อกระดูกเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ ควบคุมระดับคอเลสเตอรอลช่วยควบคุมระบบการเผาผลาญ และการทำงานของสมอง.💃 ในผู้หญิงจะช่วยทำให้มีหน้าอกสะโพกผาย มีผิวนุ่ม เรียบเนียน ขนบางลง.🙅‍♀️ แต่หากมีภาวะฮอร์โมนเพศหญิงเกินในร่างกายอาจทำให้หงุดหงิด อารมณ์แปรปรวนง่าย มีไขมันสะสมมากขึ้น ลดน้ำหนักยาก มักจะมีอาการท้องอืดบ่อยๆ ปวดศีรษะไมเกรน มีลูกยาก .⚡ ส่งผลให้เกิดโรคอ้วน โรคไขมันในเส้นเลือด เกิดถุงน้ำ เนื้องอกที่เต้านม มดลูกและรังไข่และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งบางชนิด.🤦 แต่หากผู้ชายมีฮอร์โมนเอสโตรเจนมากเกินจะทำให้มีเต้านมโต เสียงแหลม รวมไปถึงส่งผลให้เกิดโรคหัวใจและโรคมะเร็งง่ายขึ้น.ลดความเสี่ยงภาวะฮอร์โมนเอสโตรเจนเกินด้วยการตรวจฮอร์โมนสำหรับผู้หญิง / ผู้ชาย.” ตรวจก่อน รู้ก่อน ป้องกันได้ ” .ติดต่อได้ที่ศูนย์ดูแลสุขภาพ 🏥 Mousai Wellness Center 🌿.📍 https://maps.app.goo.gl/5upfoxwpdsg9hVNx5📩 Line : @MousaiWellness

Loading

ภาวะฮอร์โมนเพศหญิงเกิน 🥀(Estrogen Dominance) Read More »

🧬 ฮอร์โมนผิดปกติที่พบบ่อยใน Anti-aging

🧬 ฮอร์โมนผิดปกติที่พบบ่อยใน Anti-aging 🧬 ฮอร์โมนผิดปกติที่พบบ่อยใน Anti-aging .🍭 ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ภาวะดื้ออินซูลิน เสี่ยงเบาหวานสร้างจากตับอ่อน มีหน้าที่ ดึงน้ำตาลในเลือดเข้าเซลล์ เพื่อไปเป็นพลังงาน .🦋 ฮอร์โมนไทรอยด์ (TSH, T3, T4)Subclinical hypothyroidism ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์สร้างจากต่อมไทรอยด์ สำคัญต่อ การเจริญเติบโตของร่างกาย ระบบเผาผลาญ สร้างพลังงาน รวมถึงควบคุมการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย.🎩 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตAdrenal hormone (Adrenal fatigue) ภาวะต่อมหมวกไตล้า Cortisol เป็นฮอร์โมนต่อต้านความเครียด ควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน และระบบเผาผลาญ.🍷 Aldosterone สัมพันธ์กับภาวะต่อมหมวกไตล้ามีหน้าที่ควบคุมสมดุลของแร่ธาตุโซเดียม และโปแตสเซียมในร่างกาย หากหลั่งผิดปกติ ระดับความดันโลหิตจะผิดปกติ เลือดเป็นกรด เสี่ยงอันตรายถึงชีวิต.DHEAs/ Adrenal hormone (Adrenal fatigue) ภาวะต่อมหมวกไตล้า ฮอร์โมนต้านแก่เป็นฮอร์โมนตั้งต้นของหลาย ๆ ฮอร์โมน เช่น ฮอร์โมนเพศมีหน้าที่เพิ่มความแข็งแรง และชะลอความเสื่อมของร่างกายเพิ่มภูมิคุ้มกัน ป้องกันโรคมะเร็ง และส่งเสริมการทำงานของระบบประสาทและความจำ.🛌 ฮอ

Loading

🧬 ฮอร์โมนผิดปกติที่พบบ่อยใน Anti-aging Read More »

Andropause – ภาวะพร่องฮอร์โมนชาย อ่อนเพลียง่าย คิดช้า เริ่มเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เช็คก่อน แก้ไขได้

Mousai Wellness Center ภาวะพร่องฮอร์โมนชาย อ่อนเพลียง่าย คิดช้า เริ่มเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เช็กก่อนแก้ไขได้ ทราบหรือไม่ว่าอาการแรกที่บ่งบอกว่า ฮอร์โมนเพศชายเริ่มต่ำนั้น ได้แก่ รู้สึกคิดช้าลง ตัดสินใจปัญหาต่าง ๆ ได้ช้าลง หลงลืม อ่อนเพลียง่าย ไม่สดชื่น อารมณ์ขี้หงุดหงิด เริ่มอ้วนลงพุง มีไขมันสะสมตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ออกกำลังแบบมีแรงต้านก็แล้ว (Resistance training) แต่พบว่ากล้ามเนื้อไม่ค่อยโตขึ้นหรือโตช้า เมื่อเทียบกับคนอื่น บางคนมีปัญหานอนไม่หลับ ความต้องการทางเพศลดลง อวัยวะเพศแข็งตัวได้ไม่เต็มที่ ขาดความมั่นใจ ไม่ชอบการแข่งขัน อาการข้างต้น เป็นอาการเบื้องต้นที่บ่งบอกว่าคุณผู้ชายทั้งหลายอาจจะเริ่มมีภาวะพร่องฮอร์โมนชาย ซึ่งถ้าปล่อยให้เกิดภาวะพร่องฮอร์โมนชายนาน ๆ อาจจะเริ่มทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมาได้ เช่น ภาวะอวัยวะเพศไม่แข็งตัว (Erectile Dysfunction; ED), ภาวะดื้อฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin Resistance), ภาวะกระดูกพรุนและโรคเกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular disease) ก่อนวัยเป็นต้น ภาวะพร่องฮอร์โมนชายนั้น สามารถเกิดขึ้นได้ตั้งแต่อายุ 30 ต้น ๆ โดยขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง เช่น มีภาวะอ

Loading

Andropause – ภาวะพร่องฮอร์โมนชาย อ่อนเพลียง่าย คิดช้า เริ่มเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เช็คก่อน แก้ไขได้ Read More »